Sunday 18 October 2020

Maskless in Bangkok (part 5)

Line-up at the local 7-11

รุปแล้ว นักการเมืองพวกนี้ แสดงให้เห็นถึงการขาดความเป็นผู้นำ
เค้าประเมินความเสียหายต่อเศรษฐกิจต่ำเกินไปและ
ไม่ยอมมีนโยบายต่อสู้ที่สมดุลมากกว่านี้
เศรษฐกิจอาจจะตกต่ำลงไปเรื่อยจนกว่าจะได้ค้นพบวัคซีนแก้วไวรัสให้หายขาดดี
เพราะการค้นพบและการพัฒนาวัคซีนต้องใช้เวลานาน
และวัคซีนอาจไม่สามารถรักษาได้อย่างสมบูรณ์แบบด้วย
นิวซีแลนด์ อดีตประเทศบ้านอาศัยผม กำหนดให้มีการปิดกั้นอย่างเข้มงวดและประกาศชัยชนะแบบอวดฝีมือในการสู้รบกับไวรัส phase แรก
แต่ไวรัสก็ยังกลับมาโจมตีภายในประเทศนั้นอยู่ดี
ชาวบ้านที่นั้น ก็เริ่มเสียความมั่นใจในสภาวะ lockdown แล้ว
-
ในเมืองไทยตอนนั้น
ขณะทางรัฐยังบังคับให้คนกักตัวอยู่ที่บ้าน ปชช ดันพบเห็นว่า ขอควรปฎิบัติยังเต็มไปด้วยช่องโหว่
เช่น คุณอาจตรวจอุณหภูมิตัวเองที่ 7-11 แต่เมื่อเข้าไปข้างในพบว่าต้องโดนคนเบียดเสียดกัน
เหมือนปลาซาร์ดีน social distancing  หายไปไหน
หรือคุณจะอุตส่าฝากทิ้งชื่อ กับที่อยู่ เอาใว้ที่หน้าห้าง (ซึ่งต้องใช้เวลา)
แต่พอเดินเข้าไปก็เห็นทั้งร้านว่างเปล่าอยู่ดี
เพราะคนยังไม่กล้าออกไปข้างนอก
แค่นี่ยังไม่พอ เราจะยังเจอพวกดื้อรั้นไม่ยอมสวมหน้ากากข้างนอกอีกด้วย
-
ต่อจากนั้น ไวรัสเกิดแพร่ระบาดเข้าสังคมเป็นระลอกที่สอง
อัตราผู้เสียชีวิตก็น้อยกว่าครั้งแรก
แต่ประเทศขี้อวดๆ อย่างนิวซีแลนด์ ที่รีบประกาศก่อนหน้านี้ว่าได้ชนะไวรัส (เฟสแรก)ไปแล้ว ต้องเสียหน้าและเลยดูโง่เขลาไม่น้อย
เนื่องจากต้องกำหนดมาตรการควบคุมชุดใหม่ทำให้คนในท้องถิ่นโกรธแค้นและประท้วงบนท้องถนน
พวกนักกานเมืองและนักวิทยาศาสตร์คงตกะใจไม่น้อยเช่นกัน
เพราะประชาชนเกิดฉลาดกว่าเมื่อก่อน (คือรู้มาก) และไม่ยอมฟังพวกมันอีกแล้ว
หลังจากถูกนักวิทยาศาสตร์และนักการเมืองพาไปทำชีวิตตัวเองพัง โดยยกสูตร lockdown เป็นพระเจ้า
ต่อจากนี้ถ้าทางรัฐจะให้ ปชช เข้า lockdown อีก
ไม่มีใครจะสนใจหรอก
พวกเขาได้สร้างภูมิคุ้มกันต่อต้าน lockdown
ในแบบเดียวกับที่ร่างกายของผู้คนทำเมื่อไปสัมผัสกับไวรัสจริงนั้นเอง

Lucky still to have jobs...
-
ยังที่ว่าไปแล้ว ปัญหาไวรัสกลายเป็นประเด็นทางการเมือง (เช่นเดียวกับการจลาจลในการ race)
เพราะผลกระทบไม่สม่ำเสมอและไม่ได้รับการแบ่งปันอย่างเท่าเทียมกัน
พวก progressives โต้แย้งว่าไวรัสดีดตัวขึ้นเนื่องจากประเทศต่างๆคลี่คลาย
lockdown เร็วเกินไปและพวกเค้าต้องการดึงสะพานขึ้นมาอีกครั้ง
ในขณะพรรค conservatives เน้นการฟื้นตัวเศรษฐกิจก่อน
เนื่องจากว่า lockdown ไม่ได้ตอบโจทย์
และที่จริงแล้วเป็นวิธีการแก้ไขที่เต้มไปด้วยข้อบกพร่อง
พวกเค้าเชียร์มาตรการแบบปานกลาง ไม่ใช่เข้มข้น
เค้าหนุนแนวทางแก้ที่มีความยั่งยืนเนื่องจากไวรัสอาจอยู่กับเราไปอีกนาน
เค้าผลักดันนักวิทยาศาสตร์ให้เห็นด้วย
เพื่อให้เศรษฐกิจจะเปิดอีกครั้ง

now, see here

Maskless in Bangkok (part 4)

Saving the world...
ทุกวันนี้ ประชาชนเริ่ทตาสว่างแล้ว ว่าเค้าโดนหลอกลวงด้วยนักกานเมืองและ นักวิทยาศาสตร์ ในเรื่องของ lockdown นั้น
สองกลุ่มนี่ที่มักจะยกหางตัวเองเป็นผู้นำสังคม เป็น elite และ brains trust ๆ
แต่กลับทำตัวปลิ้นปล้อนแนบเนียนเหมือนนักต้มตุ๋นธรรมดา
ชนิดที่ว่า ปชช ไม่รู้จะเชื่อใครดีแล้ว
พวกนักกานเมืองนี้ชอบพูดยั่วยุกระตุ้นให้สังคมแตกแยกในขณะหาเสียง
ในขณะนักวิทยาศาสตร์ชอบปั่นกระแสอยากดังจากการต่อต้านไวรัส
-
เอาพวกนักวิทยาศาสตร์ก่อน
มีบางรายยอมรับว่า
เค้าผิดพลาดที่ไม่ได้วางแผนรับมือกับโรคที่ระบาดกว้างและเร็วขนาดนี้ตามที่ควร
ทั้งๆที่ประเทศเราเคยผ่านประสบการณ์คล้ายๆกับเรื่องแบบนี้เมื่อไม่กี่ปีก่อน
ตอนที่เราต้องเจอโรค MERS และ SARS นั้นเอง
ด้วยความรู้สึกผิดมั้ง เมื่อเจอโคหวิดเข้ามาแล้ว
และนักวิทยาศาสตร์นั้นแอบรู้ตัวว่าเค้ายังไม่เตรียมประเทศให้พร้อมจะสู้พอ
เค้าตื่นตระหนักสั่งให้เศรษฐกิจปิดหมดใว้ก่อน
เพราะกลัวว่าจะโดนทัวร์ลงถ้าอัตราผู้เสียชีวิตจะสูงมากขึ้นต่อเนื่องยังที่เราเห็นๆกันตอนนั้น
เป็นวิธีการรับมือแบบซื้อเวลาเพื่อจะแก้หน้าตัวเอง
โดยไม่ได้ใช้ความรู้อะไรมาก แต่เสือกออก TV ทุกวันเหมือนคนแสนรู้
คือเค้าอยากให้นักกานเมือง คู่ร่วมมือและมีสว่นรู้เห็น ปิดประเทศไว้ก่อนแล้วค่อยว่ากัน ประมาณนี้
-
ส่วนนักการเมือง
สังคมแตกแยกกันทุกวันนี้เกี่ยวกับไวรัส
เพราะนักการเมืองชอบปั่นกระแสให้พวกเราโต้แย้งกัน
ว่าเราน่าจะยังรักษามาตรการล็อกดาวน์แบบเข้มงวดดีหรือไม่
บางกลุ่มเอาอีก บางกลุ่มคัดค้านกันอยู่ เพราะกลัวว่าสังคมจะเอาไม่อยู่
ปชช ในหลายประเทศจะขัดแย้งกันจุดนี้ ขนาดว่า
ปชช จะเชียร์พรรคไหน ก็ขึ้นอยู่กับว่า
พรรคนั้นจะชี้แนวคิดในการรับมือกับ virus ในลักษณะแบบไหน คือขี้กลัวหรือใจกล้าหน่อย
-
เราเห็นพวกพรรคฝ่ายซ้าย เช่นพรรคเดโมแครตที่อเมริกา
คล้อยตามคำแนะของพวกนักวิทยาศาสตร์นั้นที่หนุนล็อกดาวน์ธุรกิจโดยสิ้นเชิง
อะไรๆที่นักวิทยาศาสตร์เอา ก็รับได้หมด
พวกนี้ชอบจัดให้มีการล็อกดาวน์แบบเข้มงวดสุดๆ
โดยอ้างว่า จะยกความปลอดภัยเป็นหลัก
ผู้สนับสนุน หรือที่ชอบลงคะแนนให้พรรคนี้
มักจะเป็น ปชช ในเมือง ที่ว่างมากมั้ง
ชอบยึดถืออุดมการณ์ทางการเมือง ให้เป็นเทพในชีวิตประจำวัน
เช่น ตั้งเป้าให้สังคมได้มีความเสมอภาคทางเพศ
หรือความเท่าเทียมกันทางเชื้อชาติ เป็นเรื่องสำคัญ
มากกว่าเรื่องการทำมาหากิน
เพราะพวกนี้ ใช้สมองทำมาหากินมากกว่าแรงกาย
งานแบบนี้ก็มั่นคงอยู่แล้ว เค้าทำจากบ้านก็ได้
เพราะฉะนั้นถ้าเศรษฐกิจต้องปิดกันจริงๆเพราะทางรัฐสั่งล็อกดาวน์แบบเข้มข้น
จนกระทั่งเศรษฐกิจไม่ขยายตัวหรือถดถอยถึงขนาดล้มเหลว
เค้าจะไม่ค่อยรู้สึกตัว
แล้วชีวิตคนระดับรากหญ้าล่ะ
พวก progressive ที่ชอบเชียร์ Democrats
มักไม่เอาใจใส่พวกนี้เท่าไรหรอก
เพราะคนหาเช้ากินเย็นก็ลุ้นคนละพรรคกันอยู่แล้ว (Republicans)
-
คนธรรมดาต้องหารายได้นอกบ้านด้วยใช้แรงกายเป็นหลัก
และแม้จะมีไวรัสกระจายไปทั่วนอกบ้าน ก็ยังต้องออกไปสู้กับสังคมภายนอกกับปชช
คนอื่นทุกวัน เพื่อจะเลี้ยงตัวเองได้อยู่
พวกนี้โดนแรงกระทบโดยตรงจากล็อกดาวน์ปิดสนิทก็ว่าได้
กลุ่มนี้มักจะเป็นผู้มีรายได้น้อย แต่โดนหนักทั้งนั้นเกือบทุกคน
นักการเมืองประเภทพรรคฝ่ายซ้ายนี้ เคยประเมินบ้างไหมว่า
ถ้าเราต้องปิดประเทศจริง ชีวิตคนธรรมดาจะเป็นยังไง
ปชช ต้องศูนย์เสียเงินทองมากน้อยแค่ไหน ถ้าโดนปลดออกจากหน้าที่การงาน บริษัทต้องปิด
รายได้หดหาย เพื่อจะแลกกับ 'ความปลอดภัย'
เค้าไม่เคยยอมรับว่า ผลกระทบล็อกดาวน์แบบนี้ที่เค้าลุ้นและชอบใจ
จะไม่เหมือนกันกับทุกคนหรอก
เพราะทุกคนรับน้ำหนักไม่เท่ากัน

now, see here

Maskless in Bangkok (Part 3)

They're watching you...

ในช่วงแรกเราเห็นคนเชื่อฟังดี
กลัวจนบางคนไม่อยากออกไปสู่โลกนอกบ้าน ตามที่ทางรัฐต้องการ เป็นหลายๆเดือน
เคสดังๆ ที่เรานึกออกได้ทันที่ คือ โจ ไบเดน
คู่ท้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ ที่กำลังหาเสียงเลือกตั้งอยู่ที่โน่น
ซึ่งเค้าใช้เวลาสามสี่เดือนมานี้ ซุกตัวอยู่ในห้องใต้ดินที่บ้านส่วนตัวใน
รัฐเดลาแวร์ ไม่ออกไปหาผู้เลือกตั้งเลย
ในขณะที่ปธน โดนัลด์ ทรัมป์ ดันหาโอกาสไปตั้งการชุมนุมทางการเมืองทุกที่
ทำแบบกล้าๆ แถมไม่ใส่แมสด้วย
นักการเมืองคู่แข่งคนนี้ก็กลายเป็นหัวหน้าแนวคิดเห็นต่อ virus ที่เป็นขั้วตรงข้ามกัน ในขณะ Covid พัฒนาตัวเองเป็นประเด็นการเมื่องที่ชวน ปชช แตกแยกกันโดยสิ้นเชิง
-
ขอย้อนเวลาไปนิดหนึ่ง
ตอนแรกผมว่านะ ที่เมืองไทยพวกเรากลัวจนแทบบ้าเหมือน โจ ไบเดน นั้น
เริ่มจากกลัวแบบเบาๆเป็นหนัก ฝ่ายรัฐได้สั่งให้ ปชช
ระงับกิจจกรรมข้างนอกเกือบทั้งหมด รวมทั้งร้านค้า โรงเรียน บริษัท ๆลๆ
ที่ต้องปิดหมด
แต่มาตรการหนักสุดคือ เลิกรับเที่ยวบินจากภายนอกประเทศอีก
คือปิดประเทศไปเลย ไม่มีใครบินออก และแทบจะไม่มีใครได้อนุญาตบินเข้าด้วย
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) สว่นใหญ่มาจากการท่องเที่ยวนั้นเอง ถ้า
ห้ามใครเข้าออกจะเหลืออะไรเหล้า
-
มาตรการเข้มงวดแบบนี้ ทางนักวิจัยวิทยาศาสตร์แนะนำเอง
เพื่อดึงเศรษฐกิจเข้าสภาวะล๊อกดาวน์แบบมิดชิดเลย
เราไม่เห็นคนคัดค้านอะไรมากตอนนั้น
แม้ว่าผลที่ออกมาก็คือคนตกงานหลายพันคนก็ตาม
แต่พอเวลาผ่านไปแล้วหลายเดือน
คนเริ่มดื้อไม่ยอมรับมาตรการข่มขี่ได้ง่ายๆอีกแล้วในชีวิตประจำวัน
ในขณะ ปชช คนเริ่มออกมาประท้วงต่อต้าน lockdown เป็นหลายประเทศ
จนนักการเมืองเกิดหวั่นผวาใจว่าจะเสียตำแหน่งเอง
เพราะข้อปฎิบัติในการล็อกดาวน์นั้น ส่งผลกระทบร้ายกับธุระกิจ ชีวิตและอนาคตคนจนเห็นได้ชัดเจน
แต่ไวรัสเนี่ย ยังไม่หายไปสักที
สังคมที่ผ่านประสบการณ์แย่ๆแบบนี้ ก็ต้องเปลี่ยนแนวคิดต่อไวรัสแน่นอน
จากเมื่อก่อน ที่คนทำตามคำสั่งทางรัฐโดยดี
เพราะเราไม่รู้เรื่องโรคนี้ และคาดหวังว่า ผู้เชี่ยวชาญจะรู้มากกว่า
พูดง่ายๆ เราเอาความกลัวเป็นหลัก
แต่ต่อจากนั้นเราเกิดสงสัยว่า เอาเข้าจริง

เราโดนไอ้นักการเมืองและผู้เชี่ยวชาญหลอกเรารึป่าวเนี่ยะ
เพราะเราเห็นคนโดนตกงานและเงินเดือนโดนหักเยอะ
แต่ไวรัสยังกระจายไปทั่ว ไม่ลดละสักที
ตอนนี้เราถือได้ว่า ผ่านพ้นในช่วงที่จะเชื่อง่ายๆ โง่ๆ เรียบร้อยแล้ว
ครั้งหน้าพวกเราจะไม่โง่ขนาดนั้นอีก
ที่นี้ถึงเราจะกลัวนิดๆ แต่เราก็ยังกล้าต่อต้านมาตรการเข้มงวดนั้นแน่นอน เพราะบางข้อนั้นส่งผลร้ายกับชีวิตคนมากกว่าไวรัสอีก

now, see here

โพส์ตเด่น

Mr Handsome returns

Mr Handsome เป็นผู้ชายไทยเกย์หนุ่มที่ เคยเขียนโพสต์ให้บล็อก Bangkok of the Mind หรือ BOTM2 (เป็นรุ่นพี่ของบล็อกฉบับนี้) เป็ นประจำหลายปีก่อน...

โพส์ตนิยม